Save time 17 Tuesday Date 24 November 2015
Diary notes.
นางสาวชณาภา คะปัญญา เลขที่ 4
บทความ เรื่อง การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย
สรุป การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ควรเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เปิดโอกาสให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริงโดยมีครูเป็นผู้ตอบสนองความสนใจของเด็ก และส่งเสริมการจัดโครงสร้างความคิดจากประสบการณ์ เพื่อพัฒนามุมมองและความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ โดยมีหลักในการเลือกเนื้อหา 3 ประการ คือ ขอบเขตเนื้อหาวิทยาศาสตร์ พัฒนาการและความสามารถในการเรียนรู้ของเด็ก และสามารถนำไปปฏิบัติจริงได้ นำไปจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และกระบวนการแก้ปัญหา ด้วยวิธีการที่หลากหลายที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และควรให้เด็กตระหนักถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้ต่อไปนี้
1. เราต้องการค้นหาอะไร
2. เราจะทำอะไรได้บ้างเพื่อการค้นหานี้
3. เราเห็นอะไรเกิดขึ้นบ่าง
4 สิ่งต่างๆ เหล่านี้บอกอะไรแก่เราบ้าง
การรายงานวิจัยของเพื่อนเลขที่ 3 และ 2
นางสาวจงรักษ์ หลาวเหล็ก เลขที่ 2
วิจัย เรื่อง ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
ผู้วิจัย สุมาลี หมวดไธสง
สรุป การวิจัยมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาระดับความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน และเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน ผ่านแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในกิจกรรมวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน และแบบทดสอบในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย คือ การจัดหมด และการหาความสัมพันธ์ ผลการวิจัยการทำกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นอกห้องเรียนส่งผลให้เด็กมีความกระตือรือร้น เรียนรู้ สำรวจค้นหาข้อมูลนอกห้องเรียนด้วยตนเอง เด็กมีความอยากรู้อยากเห็น ได้พบสิ่งแปลกใหม่และเรื่องราวที่น่าค้นคว้าจึงทำให้เด็กตื่นเต้น และอยากทำกิจกรรมซึ่งตอบสนองต่อธรรมชาติของเด็กปฐมวัย เนื่องจากลักษณะของการจัดกิจกรรมกระบวนการนอกห้องเรียนเด็กได้เรียนรู้ด้วยตนเองผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 เด็กสามารถ สัมผัสจับต้อง ดมกลิ่น ได้ยินโดยอยู่ในพื้นฐานของการปฏิบัตินอกห้องเรียน ทำให้นักเรียนได้รู้จักอนุรักษ์ธรรมชาติ และรู้จักหวงแหนสมบัติของโรงเรียนโดยไม่เด็ดดอกไม้ไม่รังแกสัตว์ที่พบเห็นและยังช่วย ดูแลธรรมชาติสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนให้สวยงามอยู่เสมอ
Teaching methods.
Knowledge.
การรายงานโทรทัศน์ครูของเพื่อนเลขที่ 9
นางสาวกรกช เดชประเสริฐ เลขที่ 9
โทรทัศน์ครู เรื่อง พัฒนาการสังเกตเป็นพื้นฐานสำคัญทางวิทยาศาสตร์
โรงเรียนอนุบาล อุทัยธานี โดยครูปราณี ศรีรักแก้ว
สรุป กิจกรรมที่ครูจัดให้เด็ก เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กทดลอง สังเกตจากการเปรียบเทียบสิ่งของ 2 ชนิด โดยครูจะกำหนดปัญหาคือตั้งคำถาม จากนั้นให้เด็กสังเกตหรือเก็บรวบรวมข้อมูล และสรุปผลการทดลอง ซึ่งเด็กจะเกิดทักษะกระบวนการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
การนำเสนอบทความของเพื่อนเลขที่ 22 6 5 และ 4
สรุป กิจกรรมที่ครูจัดให้เด็ก เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กทดลอง สังเกตจากการเปรียบเทียบสิ่งของ 2 ชนิด โดยครูจะกำหนดปัญหาคือตั้งคำถาม จากนั้นให้เด็กสังเกตหรือเก็บรวบรวมข้อมูล และสรุปผลการทดลอง ซึ่งเด็กจะเกิดทักษะกระบวนการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
การนำเสนอบทความของเพื่อนเลขที่ 22 6 5 และ 4
นางสาวชนากานต์ พงษ์สิทธิศักดิ เลขที่ 22
บทความ เรื่อง สอนลูกเรื่องอากาศ
สรุป เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่อยากรู้อยากเห็น ช่างสงสัย เด็กมักจะมีคำถามอยู่เสมอ เมื่อเด็กมีความสนใจธรรมชาติรอบตัว คำถามที่ต้องการให้ผู้ใหญ่ตอบมีหลายเรื่อง รวมทั้งสิ่งที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น คืออากาศ การสอนเรื่องอากาศสำหรับเด็กปฐมวัยมีความสำคัญ เพราะเป็นสิ่งจำเป็นในการดำรงชีวิต อยู่กับคนเราตลอดเวลา ครู และพ่อแม่ผู้ปกครองจึงควรตระหนักถึงคูณค่า และนำไปจัดสาระที่ควรเรียนรู้ ที่จะนำไปใช้พัฒนาความรู้ ความคิด ให้เด็กเกิดความเข้าใจต่อธรรมชาติ โดยเริ่มให้เขาสังเกตจากความจริงในชีวิตประจำวัน ฝึกให้เข้าใจอย่างมีเหตุผลบนพื้นฐานการจัดกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
นางสาวรัชดา เทพเรียง เลขที่ 6
บทความ เรื่อง หลักสูตรวิทยาศาตร์ปฐมวัยจำเป็นหรือไม่
สรุป สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้ดำเนินโครงการเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย โดยการเยี่ยมชมโรงเรียนปฐมวัยทุกสังกัดทั่วประเทศ ระหว่างปี พ.ศ.2548 – 2549 พบว่าครูปฐมวัยได้สอนวิทยาศาสตร์ในเชิงเนื้อหามากมาย โดยผ่านการบอกเล่า มากกว่าที่จะให้เด็กได้เรียนรู้ตามธรรมชาติของเด็กที่มีความอยากรู้อยากเห็น และมีความกระตือรือร้นที่ จะสำรวจตรวจสอบหาคำตอบเนื้อหาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ที่ครูสอนถูกแนวคิด (concept) บ้างไม่ ถูกบ้าง การเรียนวิทยาศาสตร์ในชั้นปฐมวัยนั้น ไม่ได้มุ่งเน้นให้เด็กเรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหาแต่มุ่งเน้นให้เด็กเรียนรู้เรื่องกระบวนการเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบไปด้วยการ สังเกตสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว การตั้งคำถาม การหาวิธีที่จะตอบคำถาม โดยใช้ทักษะการสังเกตตามวัยของเด็ก เมื่อเด็กได้พัฒนาทักษะในการสืบเสาะหาความรู้อย่างง่าย ๆ ตามวัยของเขา ก็จะทำให้เขามีครื่องมือสำคัญที่จะแก้ปัญหาในอนาคตของตัวเองได้ เพราะเด็กจะเรียนรู้การแก้ปัญหาอย่างมีเหตุมีผล และได้พัฒนาทักษะในการสังเกต เก็บรวบรวมข้อมูล สามารถที่จะเรียนรู้จากสิ่งรอบ ๆ ตัวได้ ถือว่าเป็นพื้นฐานสำหรับชีวิตของเด็ก ๆ ในการเรียนรู้ต่อไป”
นางสาวเปมิกา ชุติมาสวรรค์ เลขที่ 5สรุป สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้ดำเนินโครงการเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย โดยการเยี่ยมชมโรงเรียนปฐมวัยทุกสังกัดทั่วประเทศ ระหว่างปี พ.ศ.2548 – 2549 พบว่าครูปฐมวัยได้สอนวิทยาศาสตร์ในเชิงเนื้อหามากมาย โดยผ่านการบอกเล่า มากกว่าที่จะให้เด็กได้เรียนรู้ตามธรรมชาติของเด็กที่มีความอยากรู้อยากเห็น และมีความกระตือรือร้นที่ จะสำรวจตรวจสอบหาคำตอบเนื้อหาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ที่ครูสอนถูกแนวคิด (concept) บ้างไม่ ถูกบ้าง การเรียนวิทยาศาสตร์ในชั้นปฐมวัยนั้น ไม่ได้มุ่งเน้นให้เด็กเรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหาแต่มุ่งเน้นให้เด็กเรียนรู้เรื่องกระบวนการเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบไปด้วยการ สังเกตสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว การตั้งคำถาม การหาวิธีที่จะตอบคำถาม โดยใช้ทักษะการสังเกตตามวัยของเด็ก เมื่อเด็กได้พัฒนาทักษะในการสืบเสาะหาความรู้อย่างง่าย ๆ ตามวัยของเขา ก็จะทำให้เขามีครื่องมือสำคัญที่จะแก้ปัญหาในอนาคตของตัวเองได้ เพราะเด็กจะเรียนรู้การแก้ปัญหาอย่างมีเหตุมีผล และได้พัฒนาทักษะในการสังเกต เก็บรวบรวมข้อมูล สามารถที่จะเรียนรู้จากสิ่งรอบ ๆ ตัวได้ ถือว่าเป็นพื้นฐานสำหรับชีวิตของเด็ก ๆ ในการเรียนรู้ต่อไป”
บทความ เรื่อง วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
สรุป วิทยาศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตของเรา ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ส่งผลให้เราสามารถดูแลสุขภาพได้ดีขึ้นและมีความเข้าใจเกี่ยวกับการโภชนาการ ผลจากการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทำให้เรามีความเป็นอยู่อย่างสะดวกสบาย เช่นเราจะรู้สึกว่าไม่มีความสุขหากอากาศร้อนมากวิทยาศาสตร์ช่วยให้เรามีพัดลมหรือแอร์ เราได้รับความบันเทิงทางเทคโนโลยีเช่นทีวี วิทยุ เด็กเล็กๆมีธรรมชาติที่เป็นผู้ความอยากรู้อยากเห็น ชอบใช้คำถามว่า ทำไม อย่างไร
สรุป วิทยาศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตของเรา ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ส่งผลให้เราสามารถดูแลสุขภาพได้ดีขึ้นและมีความเข้าใจเกี่ยวกับการโภชนาการ ผลจากการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทำให้เรามีความเป็นอยู่อย่างสะดวกสบาย เช่นเราจะรู้สึกว่าไม่มีความสุขหากอากาศร้อนมากวิทยาศาสตร์ช่วยให้เรามีพัดลมหรือแอร์ เราได้รับความบันเทิงทางเทคโนโลยีเช่นทีวี วิทยุ เด็กเล็กๆมีธรรมชาติที่เป็นผู้ความอยากรู้อยากเห็น ชอบใช้คำถามว่า ทำไม อย่างไร
การแสวงหาความรู้จากสิ่งต่างๆรอบตัวเขาและเริ่มเข้าใจสภาพแวดล้อมที่เขาอาศัยอยู่
เด็กสามารถสังเกตและสื่อสารเกี่ยวเรื่องดิน หิน อากาศและท้องฟ้า
เรียนรู้เกี่ยวกับวัตถุ พลังงานจากแม่เหล็ก แสงและเสียง
เด็กสามารถสำรวจลักษณะของน้ำและความร้อน
สิ่งเหล่านี้ทำให้เด็กปฐมวัยเริ่มการทำงานทางวิทยาศาสตร์ เด็กสามารถแก้ปัญหาต่างๆโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการเรียนรู้เรื่องอื่นๆได้
บทความ เรื่อง การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย
สรุป การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ควรเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เปิดโอกาสให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริงโดยมีครูเป็นผู้ตอบสนองความสนใจของเด็ก และส่งเสริมการจัดโครงสร้างความคิดจากประสบการณ์ เพื่อพัฒนามุมมองและความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ โดยมีหลักในการเลือกเนื้อหา 3 ประการ คือ ขอบเขตเนื้อหาวิทยาศาสตร์ พัฒนาการและความสามารถในการเรียนรู้ของเด็ก และสามารถนำไปปฏิบัติจริงได้ นำไปจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และกระบวนการแก้ปัญหา ด้วยวิธีการที่หลากหลายที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และควรให้เด็กตระหนักถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้ต่อไปนี้
1. เราต้องการค้นหาอะไร
2. เราจะทำอะไรได้บ้างเพื่อการค้นหานี้
3. เราเห็นอะไรเกิดขึ้นบ่าง
4 สิ่งต่างๆ เหล่านี้บอกอะไรแก่เราบ้าง
การรายงานวิจัยของเพื่อนเลขที่ 3 และ 2
นางสาวประภัสสร คำบอนพิทักษ์ เลขที่ 3
วิจัย เรื่อง การพัฒนากระบวนการวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัยโดยการใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้
ผู้วิจัย ณัฐชุดา สาครจริญ
สรุป การวิจัยมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาระดับการพัฒนาของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์โดยใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้ และเพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังการจัดประสบการณ์โดยใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้ ผ่านแผนการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้ จำนวน 24 เรื่อง เช่น รถ ผักผลไม้ อาหาร เวลา เป็นต้น และแบบการประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานสำหรบเด็กปฐมวัย ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า การจัดประสบการณ์กิจกรรมรูปแบบศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้ส่งผลให้เด็กปฐมวัยมีทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์สูงขึ้น
วิจัย เรื่อง การพัฒนากระบวนการวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัยโดยการใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้
ผู้วิจัย ณัฐชุดา สาครจริญ
สรุป การวิจัยมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาระดับการพัฒนาของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์โดยใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้ และเพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังการจัดประสบการณ์โดยใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้ ผ่านแผนการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้ จำนวน 24 เรื่อง เช่น รถ ผักผลไม้ อาหาร เวลา เป็นต้น และแบบการประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานสำหรบเด็กปฐมวัย ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า การจัดประสบการณ์กิจกรรมรูปแบบศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้ส่งผลให้เด็กปฐมวัยมีทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์สูงขึ้น
วิจัย เรื่อง ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
ผู้วิจัย สุมาลี หมวดไธสง
สรุป การวิจัยมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาระดับความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน และเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน ผ่านแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในกิจกรรมวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน และแบบทดสอบในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย คือ การจัดหมด และการหาความสัมพันธ์ ผลการวิจัยการทำกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นอกห้องเรียนส่งผลให้เด็กมีความกระตือรือร้น เรียนรู้ สำรวจค้นหาข้อมูลนอกห้องเรียนด้วยตนเอง เด็กมีความอยากรู้อยากเห็น ได้พบสิ่งแปลกใหม่และเรื่องราวที่น่าค้นคว้าจึงทำให้เด็กตื่นเต้น และอยากทำกิจกรรมซึ่งตอบสนองต่อธรรมชาติของเด็กปฐมวัย เนื่องจากลักษณะของการจัดกิจกรรมกระบวนการนอกห้องเรียนเด็กได้เรียนรู้ด้วยตนเองผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 เด็กสามารถ สัมผัสจับต้อง ดมกลิ่น ได้ยินโดยอยู่ในพื้นฐานของการปฏิบัตินอกห้องเรียน ทำให้นักเรียนได้รู้จักอนุรักษ์ธรรมชาติ และรู้จักหวงแหนสมบัติของโรงเรียนโดยไม่เด็ดดอกไม้ไม่รังแกสัตว์ที่พบเห็นและยังช่วย ดูแลธรรมชาติสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนให้สวยงามอยู่เสมอ
skills.
1. skills ด้าน Technology
1.1 การ Search Information จาก Internet
1.2 การจัดทำแผนที่ความคิด My mapping สรุป Knowledge
2. skills ด้านความคิด
1.2 การจัดทำแผนที่ความคิด My mapping สรุป Knowledge
2. skills ด้านความคิด
2.1 การแสดงความคิดอย่างอิสระ กล้าคิด และคิดเป็น
3. skills การนำเสนอ
Teaching methods.
อาจารย์มีการใช้คำถามกระตุ้นให้นักศึกษาคิด เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และอธิบายเพิ่มเติมจากคำตอบของนักศึกษา
assessment.
classroom conditions. อากาศถ่ายเท มีอุณหภูมิพอเหมาะ เก้าอี้เพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา
self. เข้าชั้นเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ ใช้ ร ล และคำควบกล้ำได้ถูกต้อง มีการจดบันทึกสรุปเนื้อหาที่อาจารย์สอน และตอบคำถาม แสดงความคิดเห็น
friend. เข้าชั้นเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ แสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
professor. อาจารย์ให้ความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม การแต่งกายสะอาดสะอ้าน และเป็นระเบียบเรียบร้อย พูดเสียงดังชัดถ้อยชัดคำ เข้าสอนตรงเวลา และเปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม แสดงความคิดเห็น
professor. อาจารย์ให้ความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม การแต่งกายสะอาดสะอ้าน และเป็นระเบียบเรียบร้อย พูดเสียงดังชัดถ้อยชัดคำ เข้าสอนตรงเวลา และเปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม แสดงความคิดเห็น