Save time 6 Tuesday Date 15 September 2015
Diary notes.
นางสาวชนากานต์ พงศ์สิทธิศักดิ์ เลขที่ 21
Knowledge.
สมอง Brain คือ อวัยวะสำคัญของมนุษย์เป็นส่วนกลางของระบบประสาททำหน้าที่ควบคุมและ
สั่งการเคลื่อนไหว แสดงพฤติกรรม การรับรู้ อารมณ์
ความรู้สึกและรักษาสมดุลย์ในร่างกาย การทำงานของสมองมนุษย์แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
สมองส่วนหน้าทำหน้าที่เก็บข้อมูล ควบคุมการทำงานของร่างกาย กล้ามเนื้อ
การรับสัมผัส ความจำ เชาวน์ปัญญา และการได้ยิน สมองส่วนกลาง
ถูกสั่งการออกมาจากสมองส่วนหน้า ควบคุมการเคลื่อนไหวและการทำงานของประสาทตา
และสมองส่วนท้าย ควบคุมการทำงานการเคลื่อนไหวของร่างกาย การทรงตัว
และควบคุมการหายใจ การหมุนเวียนของเลือด
แหล่งที่มา http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/2903-004648/
หลักการ/แนวคิดสู่การพัฒนาเด็ก
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
- การเปลี่ยนแปลง
- ความแตกต่าง
- การปรับตัว
- การพึ่งพาอาศัยกัน
- ความสมดุล
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
1. กำหนดปัญหา
2. ตั้งสมมติฐาน
3. รวบรวมข้อมูล
4. สรุป
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
- ความอยากรู้อยากเห็น
- ความเพียรพยายาม
- ความมีเหตุผล
- ความซื่อสัตว์
- ความมีระเบียบและรอบคอบ
- ความใจกว้าง
หลักการ/แนวคิดสู่การพัฒนาเด็ก
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
- การเปลี่ยนแปลง
- ความแตกต่าง
- การปรับตัว
- การพึ่งพาอาศัยกัน
- ความสมดุล
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
1. กำหนดปัญหา
2. ตั้งสมมติฐาน
3. รวบรวมข้อมูล
4. สรุป
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
- ความอยากรู้อยากเห็น
- ความเพียรพยายาม
- ความมีเหตุผล
- ความซื่อสัตว์
- ความมีระเบียบและรอบคอบ
- ความใจกว้าง
skills.
1. skills ด้าน Technology
1.1 การ Search Information จาก Internet
1.2 การจัดทำแผนที่ความคิด My mapping สรุป Knowledge
2. skills ด้านความคิด
1.2 การจัดทำแผนที่ความคิด My mapping สรุป Knowledge
2. skills ด้านความคิด
2.1 การแสดงความคิดอย่างอิสระ กล้าคิด และคิดเป็น
นางสาวประภัสสร สีหบุตร เลขที่ 22
นำเสนอบทความ เรื่อง เรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านนิทานของด็กปฐมวัย "เทคนิคการเลือกและเล่านิทานให้ลูกรัก" กิจกรรมที่แสนจะอบอุ่นในชั้นเรียนและในครอบครัว
สรุปบทความ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่บูรณาการวิทยาศาสตร์โดยใช้นิทนเป็นสื่อในการเรียนรู้ เด็กปฐมวัยจะได้เชื่อมโยงจินตนาการจากนิทานสู่การสร้างสรรค์ชิ้นงาน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งการเลือกนิทานให้เด็ก ควรเลือกให้เหมาะกับวัย เรื่องราวสิ่งใกล้ตัวที่เขาชอบ เช่น สัตว์ ธรรมชาติ ภาพน่ารักๆ เลือกสีสัน และเนื้อหาที่ไม่ยาวเกินไป ในการเล่านิทานจะต้องสร้างอารมณ์ร่วมในขณะที่เล่า มีการใช้ดทนเสียงสูง - ต่ำ และใช้รูปแบบอื่น เช่น หุ้นมือ หุ้นนิ้ว งาดไปเล่าไป ซึ่งเทคนิคเหล่านี้จะทำให้เด็กเกิดความสนใจอยากรู้อยากเห็นในเรื่องที่เล่า และนำไปสู่การเชื่อมโยงต่อยอดประบการณ์ต่อไป
3. skills การนำเสนอ
การนำเสนอบทความของเพื่อนเลขที่ 23 22 และ 21
นางสาวสุจิตรา มาวงษ์ เลขที่ 23
นำเสนอบทความ เรื่อง แนวทางสอนคิด เติม "วิทย์" ให้เด็กอนุบาล
สรุปบทความ วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยเป็นวิชาที่จะต้องให้เด็กได้เรียนรู้แบบองค์รวม ซึ่งเป็นการเรียนรู้ธรรมชาติรอบตัวเด็ก โดยดร. เทพกัญญาได้ให้แนวทางในการ "สืบเสาะความรู้ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก" ที่ประกอบด้วยแนวทางการปฏิบัติ 5 ข้อ ดังนี้
1) ตั้งคำถามที่เด็กสามารถตรวจสอบได้ด้วยตนเอง
2) ออกไปหาคำตอบด้วยกัน
3) เมื่อขั้นสองสำเร็จ เด็กจะเอาสิ่งที่เขาค้นพบมาไปตอบคำถามของเขาเอง
4) นำเสนอสิ่งที่เขาสำรวจตรวจสอบมาแล้วให้กับเพื่อนๆ
5) การนำสิ่งที่เด็กค้นพบคำตอบนั้นไปเชื่อมโยงกับคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์
นำเสนอบทความ เรื่อง เรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านนิทานของด็กปฐมวัย "เทคนิคการเลือกและเล่านิทานให้ลูกรัก" กิจกรรมที่แสนจะอบอุ่นในชั้นเรียนและในครอบครัว
สรุปบทความ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่บูรณาการวิทยาศาสตร์โดยใช้นิทนเป็นสื่อในการเรียนรู้ เด็กปฐมวัยจะได้เชื่อมโยงจินตนาการจากนิทานสู่การสร้างสรรค์ชิ้นงาน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งการเลือกนิทานให้เด็ก ควรเลือกให้เหมาะกับวัย เรื่องราวสิ่งใกล้ตัวที่เขาชอบ เช่น สัตว์ ธรรมชาติ ภาพน่ารักๆ เลือกสีสัน และเนื้อหาที่ไม่ยาวเกินไป ในการเล่านิทานจะต้องสร้างอารมณ์ร่วมในขณะที่เล่า มีการใช้ดทนเสียงสูง - ต่ำ และใช้รูปแบบอื่น เช่น หุ้นมือ หุ้นนิ้ว งาดไปเล่าไป ซึ่งเทคนิคเหล่านี้จะทำให้เด็กเกิดความสนใจอยากรู้อยากเห็นในเรื่องที่เล่า และนำไปสู่การเชื่อมโยงต่อยอดประบการณ์ต่อไป
นางสาวชนากานต์ พงศ์สิทธิศักดิ์ เลขที่ 21
Teaching methods.
อาจารย์มีการใช้คำถามกระตุ้นให้นักศึกษาคิด เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และอธิบายเพิ่มเติมจากคำตอบของนักศึกษา
assessment.
classroom conditions. อากาศถ่ายเท มีอุณหภูมิพอเหมาะ เก้าอี้เพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา
self. เข้าชั้นเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ ใช้ ร ล และคำควบกล้ำได้ถูกต้อง มีการจดบันทึกสรุปเนื้อหาที่อาจารย์สอน และตอบคำถาม แสดงความคิดเห็น
friend. เข้าชั้นเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ แสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
professor. อาจารย์ให้ความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม การแต่งกายสะอาดสะอ้าน และเป็นระเบียบเรียบร้อย พูดเสียงดังชัดถ้อยชัดคำ เข้าสอนตรงเวลา และเปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม แสดงความคิดเห็น
professor. อาจารย์ให้ความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม การแต่งกายสะอาดสะอ้าน และเป็นระเบียบเรียบร้อย พูดเสียงดังชัดถ้อยชัดคำ เข้าสอนตรงเวลา และเปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม แสดงความคิดเห็น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น