Save time 7 Tuesday Date 22 September 2015
Diary notes.
นางสาวยุภา ธรรมโคตร เลขที่ 18
Knowledge.
ของเล่นวิทยาศาสตร์จากเศษวัสดุเหลือใช้
เรื่อง แม่เหล็ก
หอยทาก ดูด ดัน
- แม่เหล็ก จำนวน 3 ก้อน
- แกนทิชชู จำนวน 2 อัน
- กระดาษสี
- กระดาษแข็ง
- กาว กรรไกร
- ดินสอ สีไม้หรือสีเมจิก
อุปกรณ์
- แม่เหล็ก จำนวน 3 ก้อน
- แกนทิชชู จำนวน 2 อัน
- กระดาษสี
- กระดาษแข็ง
- กาว กรรไกร
- ดินสอ สีไม้หรือสีเมจิก
ขั้นตอนการทำ
1. ตัดกระดาษสีขนาดต่างๆ ตามต้องการ
2. ติดกระดาษสีที่ตัดไว้ลงบนแกนทิชชู
3. ตัดกระดาษแข็งเป็นรูปวงกลมตามขนาดแกนทิชชู ระบายสี
4. นำแม่เหล็กติดกับวงกลมที่ตัดไว้ จากนั้นนำไปติดที่แกนทิชชูอันแรกเพียงด้านเดียว และติดที่แกนทิชชูอันที่สองทั้งสองด้านเป็นขั้วที่ต่างกัน
5. วาดหอยทาก ระบายสีและตกแต่งให้สวยงาม แล้วนำมาติดเป็นส่วนหัวด้านหน้าของแกนทิชชูอันแรก
วิธีเล่น
นำแกนทิชชูที่ติดแม่เหล็กไว้ทั้งสองด้าน
หันด้านใดด้านหนึ่งเข้าหาแกนทิชชูอีกอันที่ติดแม่เหล็กเพียงด้านเดียว
เมื่อหันด้านที่มีแม่เหล็กขั้วเดียวกันแม่เหล็กก็จะผลักให้แกนทิชชูที่ติดหอยทากไว้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า
และถ้าหันด้านที่มีแม่เหล็กขั้วต่างกันแกนทิชชูก็จะดูดกัน
ข้อสรุปทางวิทยาศาสตร์
แม่เหล็กมี 2 ขั้ว คือ
ขั้วบวก และขั้วลบซึ่งขั้วแม่เหล็กชนิดเดียวกันจะออกแรงผลักกัน
และขั้วแม่เหล็กชนิดต่างกันจะดูดกัน
skills.
1. skills ด้าน Technology
1.1 การ Search Information จาก Internet
1.2 การจัดทำแผนที่ความคิด My mapping สรุป Knowledge
2. skills ด้านความคิด
1.2 การจัดทำแผนที่ความคิด My mapping สรุป Knowledge
2. skills ด้านความคิด
2.1 การแสดงความคิดอย่างอิสระ กล้าคิด และคิดเป็น
นางสาววราภรณ์ แทนคำ เลขที่ 19
รายงานวิจัย เรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กฐมวัย
ผู้วิจัย จุฑามาศ เรือนก๋า
สรุปวิจัย อ่านเพิ่มเติมในบล็อก
3. skills การนำเสนอ
การรายงานวิจัยของเพื่อนเลขที่ 21 20 และ 19
นางสาวรัตนาภรณ์ คงกะพันธ์ เลขที่ 21
รายงานวิจัย เรื่อง การคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัย เสกสรร มาตวังแสง
ผู้วิจัย เสกสรร มาตวังแสง
สรุปวิจัย การวิจัยมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาการคิดวิจารณณาญของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย การคิดวิเคราะห์ การใช้เหตุผล การสังเคาระห์ และการประเมินค่า ผ่านแบบทดสอบการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัย และแผนการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับครูในการจัดกิจกรรมให้เด็กเกิดการคิดได้เต็มตามศักยภาพ โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติการทดลองด้วยตนเอง ซึ่งเด็กจะได้สังเกต วางแผน และสรุปผลการทดลองตามความเข้าใจด้วยตนเอง และครูมีบทบาทในการใช้คำถาม เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้คิด ขณะทำกิจกรรม ดังนั้นเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์จึงมีการคิดวิจารณญาณสูงขึ้น
รายงานวิจัย เรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กฐมวัย
ผู้วิจัย จุฑามาศ เรือนก๋า
สรุปวิจัย อ่านเพิ่มเติมในบล็อก
นางสาวยุภา ธรรมโคตร เลขที่ 18
รายงานวิจัย เรื่อง ผลการจัดกิจกรรมเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวืทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ผู้วิจัย ยุพาภรณ์ ชูสาน
สรุปวิจัย การวิจัยมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติของเด็กปฐมวัยที่มีผลต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติก่อนและหลังการทดลอง โดยผ่านแผนการจัดกิจกรรการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ และแบบทดสอบทักษะทางวิทยาศาสตร์ ผลการวิจัยหลังการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติเด็กปฐมวัยที่มีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้นกว่าก่อนใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติเด็กปฐมวัยที่มีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัย ยุพาภรณ์ ชูสาน
สรุปวิจัย การวิจัยมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติของเด็กปฐมวัยที่มีผลต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติก่อนและหลังการทดลอง โดยผ่านแผนการจัดกิจกรรการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ และแบบทดสอบทักษะทางวิทยาศาสตร์ ผลการวิจัยหลังการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติเด็กปฐมวัยที่มีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้นกว่าก่อนใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติเด็กปฐมวัยที่มีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
Teaching methods.
อาจารย์มีการใช้คำถามกระตุ้นให้นักศึกษาคิด เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และอธิบายเพิ่มเติมจากคำตอบของนักศึกษา
assessment.
classroom conditions. อากาศถ่ายเท มีอุณหภูมิพอเหมาะ เก้าอี้เพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา
self. เข้าชั้นเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ ใช้ ร ล และคำควบกล้ำได้ถูกต้อง มีการจดบันทึกสรุปเนื้อหาที่อาจารย์สอน และตอบคำถาม แสดงความคิดเห็น
friend. เข้าชั้นเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ แสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
professor. อาจารย์ให้ความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม การแต่งกายสะอาดสะอ้าน และเป็นระเบียบเรียบร้อย พูดเสียงดังชัดถ้อยชัดคำ เข้าสอนตรงเวลา และเปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม แสดงความคิดเห็น
professor. อาจารย์ให้ความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม การแต่งกายสะอาดสะอ้าน และเป็นระเบียบเรียบร้อย พูดเสียงดังชัดถ้อยชัดคำ เข้าสอนตรงเวลา และเปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม แสดงความคิดเห็น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น